ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วเห็นว่าเรื่องความรับผิดชอบทางสังคม หรือ CSR เป็นเครื่องมือช่วย ในการพัฒนาที่ยั่งยืน ส่วนองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ระบุว่าการทำางานที่มีคุณค่าจะนำพาไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน คำถามคือ ประเทศไทยจะสามารถเดินไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้หรือไม่? ทีมทนายลำปาง และสำนักงานกฎหมายลำปาง ขอเรียนว่าหากพิจารณาเฉพาะประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน คงจะไม่เป็นการล้าสมัยเกินไปที่จะหยิบยกเอาวาระ เรื่องเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDG) ขององค์การสหประชาชาติ มากล่าวถึง ซึ่งแม้เป้าหมายดังกล่าวจะได้มีการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติมาตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นเวลากว่า ๒ ปี แล้วก็ตาม แต่เป้าหมายในการพัฒนา อย่างยั่งยืนที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกนี้ ยังมีระยะเวลาที่จะต้องดำาเนินการไปให้ถึงได้ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ ทีมทนายลำปาง และสำนักงานกฎหมายลำปาง ขอเรียนว่าโดยมี เป้าหมายที่ต้องดำาเนินการทั้งสิ้น ๑๗ เรื่อง ทั้งนี้ องค์การสหประชาชาติมีแนวคิดว่า ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมทั้งประชากรทุกคนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินการขับเคลื่อน ซึ่งเป้าหมายในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงาน คือ เป้าหมายที่ ๘ งานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Decent work and Economic Growth) โดยการที่จะให้เศรษฐกิจในภาพรวมเติบโตได้อย่างยั่งยืนนั้น ทั้งองค์การสหประชาชาติ และ ILO มองประชากรเป็นจุดศูนย์กลาง โดยมีแนวคิดในเรื่องนี้ว่า สังคมนั้น ๆ จะต้องทำาให้ประชากรมีงานที่มี คุณภาพที่จะมาช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยที่ประชากรในวัยทำางานจะต้องมีโอกาสในการทำางานที่มีคุณค่า ทั้งนี้ ILO ได้ให้ความหมายของงานที่มีคุณค่าไว้ว่า๒ เป็นงานที่มีศักดิ์ศรี มีความเท่าเทียมกัน ก่อให้เกิดรายได้ที่เป็นธรรม มีสภาพการทำางานที่ปลอดภัย ให้โอกาสคนทำางานอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นชาย หญิง หรือเด็ก รวมถึงให้มี โอกาสในการแสดงความคิดเห็นต่อการดำาเนินการที่มีผลกระทบต่อชีวิตของตน และคนทำางานต้องไม่ถูกใช้ในการ แสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งความหมายที่ ILO ได้ให้ไว้นี้ได้ปรากฏอยู่ในเป้าหมายย่อยของเป้าหมายที่ ๘ ที่เกี่ยวข้องกับด้านแรงงานดังกล่าวในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน๓ ขององค์การสหประชาชาติได้แก่ “.......ให้มีการจ่ายค่าตอบแทนที่เท่าเทียมสำาหรับงานที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน ภายในปี ๒๕๗๓….. ดำาเนินมาตรการโดยทันทีและมีประสิทธิภาพเพื่อขจัดแรงงานบังคับ ยุติความเป็นทาสสมัยใหม่ และการค้ามนุษย์ และยับยั้งและกำาจัดการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้ายและยุติการใช้แรงงานเด็กในทุกรูปแบบในปี ๒๕๖๘ และปกป้องสิทธิแรงงานและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำางานที่ปลอดภัยสำาหรับคนทำางาน....” สำาหรับประเทศไทย หากมองเชื่อมโยงประเด็นของความรับผิดชอบทางสังคม งานที่มีคุณค่า และการ พัฒนาที่ยั่งยืน อาจหยิบยกเรื่องมาตรฐานแรงงานไทย ซึ่งได้มีการพัฒนาขึ้นมาภายใต้แนวคิดพื้นฐานว่าธุรกิจ ที่เติบโต ส่วนหนึ่งควรมีความรับผิดชอบทางสังคมด้านแรงงาน โดยต้องมีการปฏิบัติทางด้านแรงงานที่ได้มาตรฐาน ทั้งมาตรฐานภายในประเทศและมาตรฐานระหว่างประเทศ ทีมทนายลำปาง และสำนักงานกฎหมายลำปาง ขอเรียนว่าจึงได้มีการเรียกมาตรฐานแรงงานไทยว่าเป็น มาตรฐานแรงงานไทย: ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย เนื่องจากบรรดาข้อกำาหนดต่าง ๆ ภายใต้ มาตรฐานนี้ หากธุรกิจใด ๆ รับไปปฏิบัติในสถานประกอบกิจการของตน จะถือได้ว่าธุรกิจมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมด้านแรงงานเพราะถือว่าธุรกิจมีความสมัครใจที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต และสภาพการทำางานในสถาน ประกอบกิจการของตนให้ได้ตามมาตรฐานทั้งในและระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นข้อกำาหนดของมาตรฐานดังกล่าว โดยไม่ได้มีการบังคับใช้แบบกฎหมาย และกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในฐานะองค์กรผู้ริเริ่มพัฒนา มาตรฐานนี้ ได้มีความพยายามในการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจนำามาตรฐานนี้ไปใช้ปฏิบัติในองค์กรของตนเพื่อให้ ธุรกิจมีความรับผิดชอบทางสังคมด้านแรงงานเพิ่มมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม อาจจะไม่สามารถกล่าวได้ชัดเจนดังเช่นประเทศที่พัฒนาแล้วได้ว่า การที่ธุรกิจนำาเอา มาตรฐานแรงงานไทย ซึ่งเป็นมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมด้านแรงงานของธุรกิจไทยนี้ไปปฏิบัติ ในสถานประกอบกิจการนั้น จะเป็นเครื่องมือช่วยให้ธุรกิจไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนได้ จึงจำาเป็นต้องพิจารณา ข้อกำาหนดของมาตรฐานแรงงานไทยเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติในเรื่อง การทำางานที่มีคุณค่าที่กล่าวไว้ข้างต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่า แม้ว่ามาตรฐานแรงงานไทยจะได้รับการพัฒนาขึ้นก่อน SDGs แต่มีตัวอย่างของข้อกำาหนดหลาย ๆ ข้อที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของ SDGs ในส่วนที่เกี่ยวกับงานที่มี คุณค่า ดังเช่น - การใช้แรงงานบังคับ โดยสถานประกอบกิจการต้องไม่กระทำา หรือสนับสนุนให้มีการใช้แรงงานบังคับ ในทุกรูปแบบ - ค่าตอบแทนการทำางาน โดยสถานประกอบกิจการต้องจ่ายค่าจ้างและค่าตอบแทนการทำางานนอก ทีมทนายลำปาง และสำนักงานกฎหมายลำปาง ขอเรียนว่าหรือเกินเวลาทำางานปกติให้แก่ลูกจ้างไม่น้อยกว่าที่กฎหมายกำาหนดไว้ ทั้งนี้ กฎหมายได้กำาหนดให้จ่ายค่าตอบแทน อย่างเท่าเทียมกัน - การเลือกปฏิบัติ โดยสถานประกอบกิจการต้องไม่กระทำา หรือสนับสนุนให้มีการเลือกปฏิบัติในการ จ้างงาน การจ่ายค่าจ้างและค่าตอบแทนการทำางานหรือเรื่องอื่น ๆ - การใช้แรงงานเด็ก โดยสถานประกอบกิจการต้องไม่ว่าจ้างหรือสนับสนุนให้มีการว่าจ้างเด็กที่มีอายุ ตำ่ากว่า 15 ปี หรือต้องไม่ให้ หรือไม่สนับสนุนให้แรงงานเด็กทำางานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย หรืออยู่ใน สภาวะแวดล้อมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย - เสรีภาพในการสมาคมและการร่วมเจรจาต่อรอง โดยสถานประกอบกิจการต้องเคารพสิทธิลูกจ้าง ในการรวมตัวจัดตั้ง และร่วมเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการอื่น ๆ ในสถานประกอบกิจการ อีกทั้งยอมรับการร่วมเจรจาต่อรอง การคัดเลือกหรือเลือกตั้งผู้แทน โดยไม่กระทำาการใด ๆ ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เพื่อขัดขวางหรือแทรกแซงการใช้สิทธิของลูกจ้าง - ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำางาน โดยสถานประกอบกิจการต้องกำาหนด มาตรการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำางานให้ครอบคลุมประเภทงาน หรือ ลักษณะงานที่มีแนวโน้มอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจ้างและผู้ที่เกี่ยวข้อง และ มีการควบคุม ป้องกันให้เป็นไปตามกฎหมาย และมาตรฐานความปลอดภัยในทุกสภาพแวดล้อมในการทำางาน ทีมทนายลำปาง และสำนักงานกฎหมายลำปาง ขอเรียนว่าทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบข้อกำาหนดของมาตรฐานแรงงานไทยกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเฉพาะในส่วน ที่เกี่ยวกับแรงงานแล้ว หากธุรกิจไทยได้นำามาตรฐานแรงงานไทยไปใช้ให้เกิดเป็นผลสำาเร็จจะทำาให้มีการสร้างงาน ที่มีคุณค่าเกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการของตนภายใต้แนวคิดพื้นฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจไทย ด้านแรงงาน และเมื่อคนทำางานมีความเป็นอยู่ดีได้ทำางานที่มีคุณค่าก็จะมีส่วนสำาคัญอย่างมาก ในการสร้าง ผลผลิตและสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้กับธุรกิจ จะเห็นได้ว่าแม้จะไม่สามารถเปรียบเทียบธุรกิจ เป็นประเทศทั้งประเทศ ซึ่งควรต้องปฏิบัติตามเป้าหมายทั้ง ๑๗ ข้อ ของ SDGs แต่หากธุรกิจมีความพยายาม ในสร้างงานที่มีคุณค่า และมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จะทำาให้ธุรกิจมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและมุ่งไปสู่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน ท้ายที่สุดเมื่อธุรกิจไทยทั้งมวลมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็จะเป็นส่วนหนึ่งในการนำา ประเทศไทยไปสู่เป้าหมายในการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
Tag: ทนายลำปาง, ทนายลำปางช่วยเหลือประชาชน, ทนายประชาชน, สำนักงานทนายความลำปาง, สำนักงานกฎหมายลำปาง, ทนายความลำปาง, สำนักงานกฎหมายในจังหวัดลำปาง, ทนายลำปางเก่งๆ, ปรึกษาทนายลำปาง, ทนายอาสาลำปาง, สภาทนายลำปาง, ทนายความลำปางมืออาชีพ, ทนายความลำปางช่วยเหลือ SME และ START UP, ทนายลำปางความมุ่งมั่น, ทนายความลำปางคลายทุกข์, สำนักงานกฎหมายลำปางช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายลำปางมุ่งมั่นช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายลำปางคลายทุกข์
#สำนักงานทนายลำปาง #สำนักงานกฎหมายในจังหวัดลำปาง #สำนักงานกฎหมายลำปาง #ทนายลำปางเก่งๆ #ปรึกษาทนายลำปาง #ทนายลำปาง #ทนายอาสาลำปาง #สภาทนายลำปาง #ทนายความลำปาง

Share on Facebook